Course Syllabus   (รายละเอียดหลักสูตร)

Course Description   (คำอธิบายหลักสูตร)

รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2 นี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้สถานศึกษาที่จัดทำการสอนในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2 นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพิ่มเติมจากหลักสูตรปกติ เพื่อปลูกฝังการเป็นพลเมืองที่ซื่อสัตย์สุจริตให้กับเยาวชน นำไปสู่เป้าหมายการลดปัญหาทุจริตคอร์รัปชันของประเทศ

Course Outline   (โครงสร้างรายวิชา)

  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองกับการรับผิดชอบของสังคม

Instruction Method and Assessment   (วิธีการสอนและการประเมินผล)

สื่อ e-Learning จำนวน 4 เรื่อง ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) นักเรียนแต่ละคนต้องมีบัญชี (Account) ของตนเองในการเข้าสู่ระบบ (Login) เพื่อเข้าเรียนและทำแบบทดสอบ หากได้คะแนนผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 70 จะได้รับใบประกาศนียบัตรจาก ป.ป.ช.

บทเรียนแบบ e-Learning

สาเหตุของการทุจริตและทิศทางการป้องกันการทุจริตในสังคม
ผลกระทบ/แนวทางในการป้องกันการทุจริตในระดับประเทศ
จิตพอเพียงต้านทุจริต 2
พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม

สาเหตุของการทุจริตและทิศทางการป้องกันการทุจริตในสังคม

แผนการจัดการเรียนรู้

สาเหตุของการทุจริตและทิศทางการป้องกันการทุจริตในสังคม


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. ระบุปัจจัย/สาเหตุที่นำไปสู่การทุจริตได้
  2. อธิบายตัวอย่างผลกระทบที่เกิดจากการทุจริตได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

ผลกระทบ/แนวทางในการป้องกันการทุจริตในระดับประเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้

ลักษณะความละอาย และความไม่ทนต่อทุจริต


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. อธิบายตัวอย่างผลกระทบที่เกิดจากการทุจริตในระดับประเทศ
  2. อธิบายแนวทางในการแก้ปัญหาการทุจริต (การลงโทษทางสังคม)

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

จิตพอเพียงต้านทุจริต 2

แผนการจัดการเรียนรู้

การประกอบอาชีพโดยใช้วัสดุท้องถิ่นตามหลัก STRONG : จิตพอเพียง ต้านทุจริต


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. วิเคราะห์ผลการเลือกวิถีชีวิตที่พอเพียงและไม่พอเพียงได้
  2. อธิบายความเชื่อมโยงของ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต กับการประกอบอาชีพในท้องถิ่น

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม

แผนการจัดการเรียนรู้

องค์ประกอบของการศึกษาความเป็นพลเมือง


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. ระบุคุณสมบัติของผู้มีความรับผิดชอบต่อสังคมได้
  2. อธิบายประโยชน์ของการมีส่วนร่วมรับผิดชอบทางสังคมได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

บทเรียนแบบ e-Book

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม

ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต

STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต

พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  1. สาเหตุของการทุจริตและทิศทางการป้องกันการทุจริตในสังคม
  2. การวิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ ผลประโยชน์ส่วนตนออกจากผลประโยชน์ส่วนรวม โดยใช้ระบบคิดฐานสอง ที่ส่งผลกระทบต่อประเทศในระดับอาเซียน
  3. การทุจริตที่เกิดจากระบบการคิดฐานสิบ ในอาชีพต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อประเทศและอาเซียน
  4. รูปแบบการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  5. การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (ชุมชน สังคม)
  6. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมต่อประเทศและอาเซียน
  7. การทุจริตที่เกิดขึ้นภายในระดับประเทศ
  8. จริยธรรมที่ใช้ในการป้องกันการทุจริตในระดับประเทศ
  9. สาเหตุการเกิดของผลประโยชน์ทับซ้อนระดับประเทศ
  10. รูปแบบผลประโยชน์ทับซ้อนระดับประเทศ
  11. แนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนระดับประเทศ
ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  1. ลักษณะความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตในระดับประเทศ
  2. การลงโทษทางสังคมในระดับประเทศ
  3. กรณีตัวอย่าง ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตในกลุ่มประเทศอาเซียน
STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
การประกอบอาชีพโดยใช้วัสดุท้องถิ่น ตามหลัก STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต เกี่ยวกับ
  1. การทำน้ำยาล้างจาน
  2. การนวดแผนโบราณ
  3. การซ่อมรถจักรยาน
  4. การทำปุ๋ยชีวภาพ
  5. การให้บริการ Home stay
พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม
  1. องค์ประกอบของการศึกษาความเป็นพลเมือง
    • 1.1 ความรับผิดชอบทางสังคม
    • 1.2 ความเกี่ยวพันชุมชน
    • 1.3 ความสามารถในการอ่าน การเขียน ทางการเมือง
  2. การเป็นพลเมืองดี
    • 2.1 มุ่งเน้นความรับผิดชอบระดับบุคคล
    • 2.2 การมีส่วนร่วม
    • 2.3 ความยุติธรรม
  3. การสร้างสำนึกพลเมืองต่อประเทศ

ร้านหนังสือ   (e-Book Store)

สงวนลิขสิทธิ์ 2564 สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ